กล่องข้อความ:
บริเวณที่พบ : อุทยานเฉลิมพระเกียรติฯ
ลักษณะพิเศษของพืช : ไม้ผลขนาดกลาง
ลักษณะทั่วไป
ต้น : ไม้ยืนต้นเนื้ออ่อนขนาดกลาง ความสูงระหว่างสูง 5 - 6 เมตร ลำต้นอวบน้ำ
ใบ : ใบออกเป็นกลุ่มที่ยอดของลำต้นอาจพบแขนงย่อยบ้าง 1 - 2 กิ่ง ทุกส่วนของพืชมียางสีขาว ใบมะละกอสีเขียว
มีลักษณะหยักลึกเข้าหากลางใบ 7 - 11 หยัก ก้านใบกลาง และค่อนข้างยาว
ดอก : ดอกตัวผู้และดอกตัวเมียอยู่คนละต้น มีสีขาวนวลหรือเหลืองอ่อนกลิ่นหอมอ่อน ๆ
ผล : ผลมีขนาดและรูปร่างต่างกันขึ้นกับพันธุ์ของมะละกอ โดยทั่วไปผลจะมีรูปร่างกลมป้อมจนถึงรียาว ลูกดิบเนื้อสีขาวอมเขียว
ลูกสุก เนื้อสีส้ม หรือแดงส้ม
ประโยชน์ : ราก ต้มดื่มแก้ทางเดินปัสสาวะอักเสบ แก้หนองใน บำรุงน้ำนม ใบต้มน้ำดื่มบำรุงหัวใจ ขับพยาธิ แก้ไข้ แก้บิด
แก้ปวดบวมแก้โรคเท้าช้าง ผลดิบใช้ขับลม ขับปัสสาวะ ขับพยาธิ ผลสุกช่วยระบายท้อง บำรุงน้ำนม เจริญอาหาร
มะละกอเป็นใบออกเป็นกลุ่มที่ยอดของลำต้นอาจพบแขนงย่อยบ้าง 1 - 2 กิ่ง ทุกส่วนของพืชมียางสีขาว ใบมะละกอสีเขียว มีลักษณะหยักลึกเข้าหากลางใบ 7 - 11 หยัก ก้านใบกลาง และค่อนข้างยาว ดอกตัวผู้และดอกตัวเมียอยู่คนละต้น มีสีขาวนวลหรือเหลืองอ่อนกลิ่นหอมอ่อน ๆ ผลมีขนาดและรูปร่างต่างกันขึ้นกับพันธุ์ของมะละกอ โดยทั่วไปผลจะมีรูปร่างกลมป้อมจนถึงรียาว ลูกดิบเนื้อสีขาวอมเขียว ลูกสุก เนื้อสีส้ม หรือแดงส้ม

ลักษณะวิสัย

กลับหน้าหลัก
ลำต้น
ใบ
ดอก
ผล

7-50100-001-125

ชื่อพื้นเมือง

:  มะก้วยเทศ   มะละกอ

ชื่อวิทยาศาสตร์

Carica papaya L.

ชื่อวงศ์

:  CARICACEAE

ชื่อสามัญ

:  Payaya, Pawpaw, Tree melon

ประโยชน์

:ราก ต้มดื่มแก้ทางเดินปัสสาวะอักเสบ แก้หนองใน บำรุงน้ำนม ใบต้มน้ำดื่มบำรุงหัวใจ ขับพยาธิ แก้ไข้ แก้บิด แก้ปวดบวม แก้โรคเท้าช้าง ผลดิบใช้ขับลม ขับปัสสาวะ
ขับพยาธิ ผลสุกช่วยระบายท้อง บำรุงน้ำนม เจริญอาหาร 

 

สรุปลักษณะและข้อมูลพรรณไม้
ชื่อพรรณไม้     มะละกอ    รหัสพรรณไม้   7-50100-001-125